บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022

QR Code YouTuber/Vloggre

รูปภาพ
  https://www.youtube.com/watch?v=KWyA1CLzLOY

QR Code เข้าร่วม Spatial Metaverse

รูปภาพ
 https://spatial.io/rooms/621b2b897ad68a000194489c?share=2216697615097538679

QR Code Microsoft Teams

รูปภาพ
 

QR Code ของรุ่งทิวา

รูปภาพ
 

รุ่งทิวา เหล่าอั้น

workshop 5 Educational Leadership Students and Mixed Reality Experiences: Building Student Confidence to Communicate with Parents and Teachers Ceballos, M., Buckridge, H., & Taylor, R. T. (n.d.). Educational Leadership Students and Mixed Reality Experiences: Building Student Confidence to Communicate with Parents and Teachers. Preparing future school administrators to engage in effective communication with parents and teachers is a necessary component of master’s of educational leadership preparation programs. Mixed reality experiences (i.e., a life-like virtual rehearsal experience) provide students with opportunities to engage in realistic practice in a low risk professional environment where they are given immediate feedback and an opportunity to reflect on the simulation experience. Through this study, researchers examined students’ perceived value of the mixed reality experience in developing their conferencing communication skills with parents and teachers. Findings from this

Development of educational leadership in research university through community of practices among professors

Ismi Arif Ismail, Soaib Asmiran, Zaharah Hassan.   Development of educational leadership in research university through community of practices among professors , Ismi Arif Ismail et al. / Procedia Social and Behavioral Sciences 15 (2011), page 828-832. Abstract We are using the COP (Community of Practice) model as a conceptual framework to explore professors’ experiences and to understand educational leadership in Research University (RU). This research utilized the qualitative method, interviewing twenty professors from universities in Malaysia and overseas as well as conducting two focus group interviews with university leaders from two universities. Interviews were recorded and transcribed verbatim and the data were categorized into themes. The findings indicated that through COP of professors, we can understand the process of how they conduct their jobs such as in teaching, research and consultancy. Through the COP, we can develop educational leadership for RU.      เรากำลังใช้แบบจ

รุ่งทิวา เหล่าอั้น

workshop4 รักษิต สุทธิพงษ์ (2560). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิตอล . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรปีที่ 19 ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2560, หน้า 344-355. บทคัดย่อ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลก คุณภาพคน หรือทุนมนุษย์มีความสำคัญมากในศตวรรษที่ 21   การเตรียมความพร้อมของคนไทยในอนาคต จึงเป็นหน้าที่ของระบบการศึกษาและครูที่มีคุณภาพ คุณภาพครูจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของครูต้องเกิดขึ้นไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงยุคสมัย เพื่อผลิตคนที่มีคุณภาพ มีความสามารถในการแข่งขัน ตรงตามความต้องการของประเทศ กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา คือแบบแผน และกรอบโครงสร้างที่กำหนดรูปแบบ แนวทางการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมาย ดังนั้นการพัฒนาครูไทยให้มีคุณภาพ จึงต้องพัฒนาตามวิสัยทัศน์การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาครูในยุคดิจิตอล แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ 1) การเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเป็นนิสิต / นักศึกษาครู 2) การฝึกภาคปฏิบัติระหว่างการเป็นนิสิต / นักศึกษาครู และ 3) การพัฒนาครูประจำการหลังจากสำเร็จการศึกษ

นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษายุคใหม่

วรวุฒิ รามจันทร์ (2555). นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษายุคใหม่ . วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริกปีที่ 30 ฉบับที่ 1  ตุลาคม 2554 - มกราคม 2555, หน้า 117-137. บทคัดย่อ      บทความเรื่อง นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษายุคใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อนําาเสนอแนวคิดการนําาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อปรับปรุงกระบวนการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถใช้ประโยชน์จากเครื่องมือเหล่านี้ได้อย่างเต็มความสามารถ       ทั้งนี้การใช้และการเกิดของนวัตกรรมการศึกษามีมากมาย ทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน และนวัตกรรมที่กําาลังจะเผยแพร่ ซึ่งนวัตกรรมการศึกษาถูกพัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้จากสื่อความรู้ทางการศึกษาหลากหลายรูปแบบ จนเรียกได้ว่าเป็นยุคแห่งนวัตกรรมการศึกษา และการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์อย่างเต็มรูปแบบ ที่ผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ เท่าที่ผู้เรียนจะมีกําาลังความสามารถในการที่จะค้นคว้าหาความรู้ก็ว่าได้        การทําให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาหรือเทคโนโลยีการศึกษา เกิดจากกา

การนำเสนอรูปแบบแนวทางการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานี

การนำเสนอรูปแบบแนวทางการบริหารงานวิชาการโรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานี

การศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี

  ชื่อวิทยานิพนธ์ การศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี A Study of Academic Administration of The Elementary SchoolUnder The Jurisdiction of The Office of Saraburi ProvincialPrimary Education ชื่อนิสิต สุวัฒน์ แสนทวี Suwat Santhawee ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ ดร อุทัย บุญประเสริฐ Asso.Prof.Dr. Uthai Boonprasert ชื่อสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์ (บริหารการศึกษา) Master. Education (Educational Administration) ปีที่จบการศึกษา 2538 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี ผลการวิจัยพบว่า โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรีส่วนใหญ่ได้กำหนดโครงสร้างการบริหารงานวิชาการอย่างเป็นทางการ มีการกำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคลากรในสายงานวิชาการอย่างเป็นลายลักษณ์

การนำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร

  ชื่อวิทยานิพนธ์ การนำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร A Proposed Model for Academic Administration of the Extra LargeSecondary Schools Under the Jurisdiction of the Department ofGeneral Education, Bangkok Metropolis ชื่อนิสิต นพดล อุชชิน Nopadol Ujjin ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ ดร อมรชัย ตันติเมธ Asso.Prof.Dr. Amornchai Tontimedh ชื่อสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์ (บริหารการศึกษา) Master. Education (Educational Administration) ปีที่จบการศึกษา 2536 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาโครงสร้างการบริหารงานวิชาการ ภารกิจการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร และนำเสนอรูปแบบการบริหารงานวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ผลของการวิจัยพบว่า ด้านโครงสร้างในการบริหารงานวิชาการโรงเรีย

ปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 6

  ชื่อวิทยานิพนธ์ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 6 Factors Related to the Quality of Academic Affairs Administration of the Elementary School under the Office of National Primary Education Commission in Educational Region IV ชื่อนิสิต อำนาจ เภทพ่อค้า Not Available ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ ดร คุณวุฒิ คนฉลาด ผศ ดร ไพรัตน์ วงษ์นาม ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยบูรพา. บัณฑิตวิทยาลัย Burapha University. Chonburi (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. การศึกษา (การบริหารการศึกษา) Master. Education (Education Administration) ปีที่จบการศึกษา 2540 บทคัดย่อ(ไทย) ~uความเป็นมา~u ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษา เพื่อให้ได้มาตรฐานเดียวกันนั้น สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ได้จัดทำเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนประถมศึกษา พ.ศ.2536 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินงาน ตลอดจนเป็นเครื่องมือในการติดตาม ควบคุม กำกับ เพื่อพัฒนาคุณภาพนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษาให้สูงข